ยันตรา คาถาศักดิ์สิทธิ์

ศรีจักรา
Shri Yantra, Sri Yantra หรือ Shri Chakra
ในลัทธิพระเวทต้นกำเนิดของศาสนาฮินดูในประเทศอินเดียและเนปาลศาสตร์แห่งการเขียนลวดลายเพื่อสร้างกระแสพลังอำนาจนี้เรียกว่า อักกะตัชชารี หมายถึงการเขียนพระยันตร์รูปแบบต่างๆรวมไปถึงเลขยันตร์คาถาอาคมที่ถอดจากคำพูดแต่ละคำกลายเป็นตัวอักษรและสัญลักษณ์อันถูกจัดเรียงอย่างมีระเบียบและการนำตัวเลขแทนสัญลักษณ์ดวงดาวต่างๆจัดเรียงอยู่ในผังสมมุติของจักวาลทำการจัดเรียงตัวเลขเหล่านั้นในทิศทางองศา
ที่ดีที่สุดโดยเชื่อว่าอำนาจจากตัวเลขที่ถูกสมมุติแทนดาวดวงต่างๆจะส่งพลังงานจากดาวดวงจริงหรือพลังจักวาลมาสู่ตัวผู้บูชาทั้งนี้พระยันตร์ต่างๆที่ถูกสร้างขึ้นก็เพื่อใช้กับเหตุการหรือความปรารถาต่างๆหนึ่งในพระยันต์ที่เรียกว่าเป็นมหายันต์ที่มีอำนาจในการแผ่พลังงานจักวาลชั้นสูงคือ ศรีจักรา ยันต์ศรีจักรานี้เป็นรูปยันต์ที่มีความซับซ้อนอย่างยิ่งปรากฏเป็นรูปสามเหลี่ยมที่ซ้อนขึ้นลงสลับกันคล้ายดาวหกแฉกซ้อนกันทั้งหมด3ชั้นมีจุดกึ่งกลางเป็นสามเหลี่ยมควำอยู่ภายในและภายในสามเหลี่ยมคว่ำนั้นมีจุดวงกลมที่เรียกว่าพินธุอยู่รูปสามเหลี่ยมที่เหลีอมซ้อนกันนั้นถูกบรรจุอยู่ภายในวงกลมที่ซ้อนกันอยู่2ชั้นวงกลมชั้นแรกมีรูปดอกบัวแปดกลีบวงกลมชั้นที่2มีรูปดอกบัว16กลีบโดยรูปทั้งหมดนี้ถูกซ้อนอยู่ในสี่เหลี่ยมจตุรัสอีกที่หนึ่งรูปร่างของมหายันต์ศรีจักรานี้มีความหมายอย่างลึกซึ้ง
การสร้างสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อทางศาสนาต่างๆนั้นสถานที่ที่ถูกสร้างจะต้องทำการออกแบบให้สอดคล้องกับจักวาลเพื่อเป็นการดึงอำนาจเบื้องสูงลงมารวมทั้งเป็นการนำพาพลังงานจากเบื้องต่ำขึ้นไปสู่เบื้องสูงทั้งนี้จึงเป็นเรื่องเกี่ยวพันกับพลังงานจักรวาลโดยตรงอย่างเช่นการสร้างพีระมิดอันเป็นสถานที่ที่มีประจุกระแสพลังงานมหาศาลอยู่ภายในหรือการสร้างพระเจดีย์ต่างๆเช่นมหาปราสาทนครวัดนครธมการสร้างพระเจดีย์ต่างๆที่เราเห็นกันทุกวันนี้ก็ล้วนมาจากญาณทัศนะที่ล่วงรู้รูปแบบบางอย่างอันจะสามารถเชื้อเชิญพลังงานอันมหาศาลจากจักรวาลการรวบรวมพลังงานที่กระจัดกระจายให้เป็นระเบียบการแผ่พลังงานออกมาอย่างต่องนื่องและทรงประสิทธิภาพรวมทั้งการยกพลังงานชีวิตและคลื่นพลังงานภายในของผู้ที่เข้ามาให้สูงขึ้น
จากการสร้างรูปแบบเพื่อทำสถาปัตยกรรมชั้นสูงที่มีขนาดใหญ่อีกทางหนึ่งคือการจำลองเอารูปลักษณ์ดังกล่าวเป็นพระยันต์เพื่อพกติดตัวโดยเชื่อว่าคือการย่อส่วนลงมาเพื่อให้เป็นขุมพลังงานที่เคลื่อนที่ได้การสร้างแผนผังเพื่อสร้างวัดวาอารามคือการสร้างแผนผังจำลองจักวาลที่ใหญ่มหาศาลมาเป็นตัวเรือนแต่กระนั้นตัวเรือนหรือสิ่งก่อสร้างก็ไม่สามารถเคลื่อนที่หรือจับย้ายไปมาให้ติดไปกับแต่ละตัว
บุคคลแต่สามารถใช้ได้กับคนจำนวนมากพร้อมกันได้ขณะที่การจำลองรูปแผนผังจักวาลมาสู่รูปลักษณ์ขนาดเล็กที่สามารถติดตัวไปไหนต่อไหนจึงเป็นสิ่งที่สามารถส่งพลังงานอย่างต่อเนื่องให้แก่บุคคลผู้นั้นและสามารถผันแปรพลังงานที่ส่งออกมาในรูปที่เราต้องการได้โดยตรงดีกว่า
ยันต์ศรีจักราคือพระยันต์ที่มีความหมายภายในตัวที่กว้างขวางและลึกมีอิทธิพลต่อหลายระนาบของมิติต่างๆเป็นทั้งการสื่อพลังงานจักวาลการสื่อพลังงานของเทพจนกระทั้งการเข้าถึงปรัชญาระดับสูง
จุดกึ่งกลางของพระยันต์นี้หมายถึงจุดเริ่มต้นของการแผ่ขยายพลังงานพลังงานที่แผ่ออกมามีลักษณะเป็นระลอกคลื่นขณะเดียวกันก็มีการดึงดูดพลังงานจากจักรวาลเข้ามาสู่ตัวเองการแผ่พลังงานและการดึงพลังงานจักวาลของศรัจักรานี้เป็นแบบเดียวกันกับกระบวนการหายใจเข้าออกของมนุษย์และเป็นปรากฎการดึงพลังงานเข้าออกของจักรภายในตัวคนเราด้วย
การแผ่พลังงานที่มีลักษณะเป็นสามเหลี่ยมซ้อนๆกันนั้นสามเหลี่ยมคือตัวแทนของเวลาทั้งสามอันได้แก่ อดีต ปัจจุบันอนาคตและภพทั้งสามคือกามเทพรูปภพและอรูปภพรวมไปถึงพลังงานอันรังสรรค์ของพระเป็นเจ้าอีกสามอย่างคือแสงน้ำและอากาศเมื่อแรกที่พลังงานจากจุดกึ่งกลางทำการแผ่ออกมากลายเป็นรูปสามเหลี่ยมนั้นหมายถึงคุณสมบัติแรกสามประการของพระเป็นเจ้าคือแสงน้ำและอากาศเมื่อเกิดแสงน้ำและอากาศขึ้นมาก็เกิดเป็นภพต่างๆที่มีความละเอียดต่างๆกันและเกิดเป็นเวลาต่างๆที่ต่างกันออกไปในแต่ละภพการแผ่นพลังงานของศรีจักราแผ่ไปในทิศหลักทั้งสี่คือเหนือใต้ออกตกและแผ่ไปในทิศทั้ง6คือด้านหน้าด้านหลังซ้ายขวาเบื้องบนและเบื้องล่างฐานบัวที่ซ้อนกันสองชั้นจาก8เป็น16แสดงให้เห็นถึงการขยายพลังงานที่คล้ายกับการแย้มของกลีบดอกบัวเป็นแบบทวีคูณและไม่มีที่สิ้นสุดตามแนวของศาสตร์แห่งโยคะ
ศรีจักราคือการย่อส่วนพลังจักวาลหรือพลังแห่งพระเป็นเจ้าที่ยิ่งใหญ่ลงมาสู่รูปแบบที่มีขนาดเล็กดังนั้นศรีจักราจึงทำหน้าที่คล้ายชิบของคอมพิวเตอร์หรือแผงวงจรของคอมพิวเตอร์ที่ประมวลความรู้ข้อมูลหรือสาระสำคัญอย่างยิ่งยวดเอาไว้
••••••••••••••••••••••••••••••••••••
คาถาพระเจ้าประจญพญามาร
อิติปาระมิตาติงสา อิติสัพพัญมาคะตา อิติโพธิ มนุปปัตโต อิติปิโส จะเตนะโม
อายันตุโภนโต อิธะ ทานะ สีละ เนกขัมมะ ปัญญา สะหะวิริยา ขันติ สัจจา
ธิฏฐานะ สะเมตตุ เปกขา ยุทธายะโว คัณหะถะ อาวุธานีติฯ
ตัสสาเกษีสะโต ยะถาคงคา
โสตังปะวัตตันติ มาระเสนา
ปฏิฐาตุง อาสักโภนโต
ปะลายิงสุ ปาริมานานุภาเวนะ
มาระเสนาปะราชิตา ทิโส ทิสัง
ปะลายันติ วิทังเสนติอะเสสะโต….
พระคาถานี้ได้เมื่อปางสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสี่ยงพระบารมี เข้าประจญพญามาราธิราช พญามาราธิราชก็พ่ายแพ้ไป อนุภาพของพระคาถานี้ ผู้ใดได้สวดมนต์ภาวนา จะเป็นผู้มีชัยชนะแก่อุปสรรคทั้งหลาย ศัตรูทั้งปวงมิอาจจะทำอันตรายได้ ย่อมแพ้ภัยตัวเองไปแล ภาวนากันภูตผีปิศาจ เมื่อได้ยินพระคาถานี้เข้า จะพากันหลบหนีไปไกลสิ้น ถ้าหากที่ใดมีผีเข้าคนอยู่ ให้ภาวนาคาถานี้สัก ๗ ครั้ง บ่ายหน้าไปสู่บ้านนั้น แล้วไปสู่ ณ ที่นั้น ผีนั้นจะหลบหนีไป มิอาจจะอยู่ได้เลย แม้ผู้ใดกระทำคุณไสยปล่อยมา เมื่อภาวนาพระคาถานี้แล้ว จะกลับคืนไปสู่เจ้าของเดิมสิ้น ท่านเรียกว่า ” อาวุธกลับ “
••••••••••••••••••••••••••••••••••••
พระคาถาพลังจักระ พระอาจารย์ ดร.สิงห์ทน
ปรับปรุงเทียบพระอาคมฉบับอื่นๆ โดย ศังกรทิวากร
ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ วะตะ เม นาโถ
ขอพระพุทธเจ้า ผู้ทรงไว้ซึ่งพระมหากรุณาธิคุณ
พระวิสุทธิคุณ และพระปัญญาธิคุณ ทรงมาเป็น
ที่พึ่งของข้าพเจ้า
พุทธัง บังเกิด เปิดโลก โลกะวิทู นะมะพะทะ
พุทโธ ธัมโม สังโฆ โลกะทีปัง อากาสะกะสิณัง
วิโสธายิ อิกะวิติ พุทธะสังมิ โลกะวิทู
นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ นะมะอะอุ นะจะนะจะ
นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ นะมะอะอุ มะภะมะภะ
นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ นะมะอะอุ พะกะพะกะ
นะโมพุทธายะ นะมะพะทะ นะมะอะอุ ทะสะทะสะ
ชมภูทีปัญจะ อิสะโร กุสะลา ธัมมา นะโมพุทธายะ
นะโมธัมมายะ นะโมสังฆายะ ปัญจะพุทธา นะมามิหัง
อาปามะจุปะ ทีมะสังอังขุ สังวิธาปุกะยะปะ
อุปะสะชะสุ(สะ)เห ปาสายะโส โสโส สะสะ อะอะ นิ
เตชะสุเนมะภูจะนาวิเว อะสังวิสุโลปุสะพุภะ อะภะสัง
พุวิสะสุปุโล อิสวาสุ สุสวาอิ กุสะลาธัมมา จิตติ วิอัตถิ
นะโมพุทธายะ ยะธาพุทโมนะ มะอะอุ อุอะมะ อุ
อิติปิโส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
อิเมนา พุทธะ ตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปิติอิ
สะหัสเนตโต เทวินโท ทิพพะจักขุง วิโสธะยิ อิกะวิติ
พุทธะสังมิ โลกะวิทู
อิติปาระมิตาติงสา อิติสัพพัญญูมาคะตา
อิติโพธิมะนุปปัตโต อิติปิโส จะ เต นะโม
นะมะนะอะ นอกอนะกะ กอออนออะ นะอะกะอัง
อุมิอะมิ มะหิสุตัง สุนะพุทธัง อะสุนะอะ
มุนินทะ วะชะนัม ภุชะ คัพภะ สัมภะวะ สุนทรี
ปาณีนัง สรณัง วานี มัยหัง ปินะยะตัง มะนัง
เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก
โส มานิ มา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ สา มานิ มา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ
เวทาสากุ กุสาทาเว ทายะสาตะ ตะสายะทา
สาสาทิกุ กุทิสาสา กุตะกุภู ภูกุตะกุ
อายันตุ โภนโต อิทะ ทานะ สีละ เนักขัมมะ ปัญญา
สะหะ วิริยะ ขันติ สัจจาธิฏฐานะ เมตตุเปกขา
ยุทธายะโว คัณหะถะ อาวุธานีติ
(โภน-นะ-โต)
ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ รัตติมาภาติ จันทิมา
สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ ฌายี ตะปะติ พราหมโณ
อะถะ สัพพะ มโหรัตติง พุทโธ ตะปะติ เตชะสา
อะโรคะยา ปะระมา ลาภา สันตุฏฐี ปะระมัง ธะนัง
วิสาสา ปะระมายาติ นิพพานัง ปะระมัง สุขัง
ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ รัตติมาภาติ จันทิมา
สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ ฌายี ตะปะติ พราหมโณ
อะถะ สัพพะ มโหรัตติง พุทโธ ตะปะติ เตชะสา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ สุวัตถิ โหนตุ สัพพะทา
ไม่อยู่ในกลุ่มจักระ เป็นที่เก็บพลังงานจักระ ผู้ที่ฝึก
พลังจักระระดับสูงสำเร็จจึงปรากฏ มีอยู่สองจุด
อีกจุดหนึ่งเป็นพื้นที่ร่วมของ สวาธิษฐาน
ตังเมสะทิโก มังสุเรโส อะปะนา ปะสุสุปิ
อะธะสิติ ปุริสิเว กุโกกะโค นะมามิหัง
สุกิติมา สุภาจาโร สุสีละวา สุปาคะโต
ยัสสะสีมาวะ เจ ธีโร เกสะโร วา อะสัมภิโต
อิปิภะวาระสัมสัมโธ
ชาระสัมโนคะโลวิอะ
ตะปุสะมะระสัตเทมะ
สาพุทภะวาติคะโธนัง
นุสวะถาถิสาทัมริโร
นุตทูกะโตสุปันนะจะ
วิชพุทมาหังอะคะโสติ
เมื่อโยคีฝึกได้ในระดับสูงแล้ว อันหมายความว่าจักระ
ทั้งเจ็ดเปิด และหมุนเคลื่อนไปตามวัฏจักร สามารถ
ควบคุมได้ รับและปล่อยพลังงานได้ และต้องเกิดการ
สะสมพลังงานในจุดสุริยะประสาททั้งสอง คือใต้ลิ้นปี่
และบริเวณท้องน้อย ซึ่งในภาษาจีนเรียก จุดตันเถียน
บนและล่าง โดยทั้งสองจุดมีค่าพลังงานไฟฟ้าบวก
และลบ โดยจุดบน มีค่าพลังบวกมากกว่า จุดล่างมี
ค่าพลังลบมากกว่า และเกิดการถ่ายเทพลังงาน
ภายในกาย จนมีรูปวงรีคล้ายไข่ ในกายทิพย์
ถึงตอนนี้จะเริ่มฝึกจุดพลังงาน จุดสมมุติอีกสองจุด
ยืมคำจีนมาใช้ก็ต้องเรียกว่า #ระฆังทองคลุมกาย
จะเกิดเป็นพลังงานคลุมตัวโยคี ทั้งกายเริ่มแต่
ผิวกาย จนกระทั่งแผ่ซ่านประมาณหนี่งศอก ขยับ
เป็นหัตถบาศ วาหนึ่ง กรีสหนึ่ง โดยลำดับ
พลังงาน จะเปลี่ยน เป็นสีม่วงอ่อนมาก สีม่วงประกายทอง จนเป็นสีทองในที่สุด
หลังจากนั้นจึงฝึกจุดที่สิบ พรหมโลก(อวกาศ)
ลักษณะสีคลื่นพลังกลับเปลี่ยนเป็นสีดำอนันต์ ครับ
ในตอนนั้นจึงกล่าวได้ว่าจะมีพระคาถาประจำจุด
สมมุติสามจุด ดังนี้
#พระคาถาประจำจักรกุณฑลินี จักระราหุ หรือ ธรณี
ตัสสา เกสีสะโต ยะถา คังคา โลตัง ปะวัตตันติ
มาระเสนา ปะติฏฐาตุง อะสักโภนโต ปะลายิงสุ
ปาระมิตตานุภาเวนะ มาระเสนา ปะราชิตา
ทิโสทิสัง ปะลายันติ วิทังเสนติ อะเสสะโต
#พระคาถาประจำจักรกุณฑลินี จักรเกตุ หรือ จุดจอมฟ้า
โสฬะสะมังคะลัญเจวะ นะวะโลกุตตะระธัมมะตา
จัตตาโร จะ มหาทึปา ปัญจะพุทธา มหามุนี
ตรีปิฏะกะ ธัมมักขันธา ฉะ กามาวะจะรา ตถา
ปัญจะทะสะ ภะเวสัจจัง ทะสะมัง สีละเมวะ จะ
เตรัสสะ ธุตังคาจะ ปาฏิหารัญ จะ ทวาทะสะ
เอกะ เมรุ จะ สุราอัฏฐะ
ทะเว จันทังสุริยัง สัคคา สัตตะโพชฌังคาเจวะ
จุททัสสะ จักกะวัตติจะ เอกาทะสะ วิษณุราชา
สัพเพ เทวา สะมาคะตา มัง รักขันตุ ปาละยันตุ
สัพพะทา เอเตนะ มังคละเตเชนะ สัพพะโสตถี
ภะวันตุ เม
ชาโล มหาชาโล ชาลัง มหาชาลัง
ชาลิเต มหาชาลิเต ชาลิตัง มหาชาลิตัง
มุตเต มุตเต สัมปัตเต มุตตัง มุตตัง สัมปัตตัง
สุตัง คะมิติ สุตัง คะมิติ มัคคะยึติ มัคคะยืติ
ทิฏฐิลา ทัณฑะลา มัณฑะลา โรคคิลา
กะระลา ทุพพะลา
ริตติ ริตติ กิตติ กิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ
มุตติ มุตติ จุตติ จุตติ ธารณี ธารณีติ
อิทัง ธารณปริตตัง